บันทึกอนุทินครั้งที่ 2
วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ อ.ตฤน แจ่มถิน
วันที่ 25สิงหาคม พ.ศ.2557
เวลาเรียน 11.30-14.00น.
พฤติกรรมและพัฒนาการของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการของเด็ก
- ปัจจัยทางด้านชีวภาพ (พันธุกรรม)
- ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมก่อนคลอด
- ปัจจัยด้านกระบวนการคลอด
- ปัยจัยสภาพแวดล้อมหลังคลอด (ความเอาใจใส่ของพ่อแม่)
สาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่องทางพัฒนาการ
1.พันธุกรรม
- เด็กจะมีพัฒนาการล่าช้ามาตั้งแต่เกิดหรือสังเกตุได้ชั่วระยะไม่นานหลังเกิดมักมีลักษณะผิดปกติแต่กำเนิดร่วมด้วย
2.โรคของระบบประสาท
- เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการส่วนใหญ่มักมีอาการแสดงออกทางระบบประสาทร่วมด้วย
3.การติดเชื้อ
- การติดเชื้อตั้งแต่อยู่ในครรภ์ น้ำหนักตัวแรกเกิดน้อย ศีรษะเล็กกว่าปกติอาจมีตับม้ามโต การได้ยินบกพร่อง ต้อกระจก
- นอกจากนี้การติดเชื้อรุนแรงภาย
โรคที่ยังเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยคือไทรอยด์ฮอร์โมนในเลือด
5.ภาวะแทรกซ้อนระยะแรกเกิด
การเกิดก่อนกำหนด น้ำหนักตัวแรกเกิดน้อย และภาวะขาดออกซิเจน
- 6.สารเคมี
- ตะกั่ว เป็นสารเคมีที่มีผลกระทบต่อเด็ก มีอาการซึมเศร้า เคลื่อนไหวช้า ผิดคำหมองคล้ำเป็นจุดๆ ภาวะตับเป็นพิษ ระดับสติปัญญาต่ำ
- แอลกอฮอล์ มีน้ำหนักแรกเกิดน้อย มีอัตราการเพิ่มน้ำหนักหลังเกิดน้อย ศีรษะเล็ก พัฒนาการทางด้านสติปัญญามีความบกพร่อง เด็กบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ อาการช่องตาสั้น ร่องริมฝีปากบนเรียบ ริมฝรปากบนยาวและบาง หนังคลุมหัวตามาก จมูกแบน ปลายจมูกเชิดขึ้น
- นโคติน น้ำหนักตัวแรกเกิดน้อย ขาดสารอาหารในระยะตั้งครรภ์ เพิ่มอัตราการตายในวัยทารก สติปัญญาบกพร่อง สมาธิสั้น พฤติกรรมก้าวร้าว มีปัญหาการเข้าสังคม
7.การเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม รวมทั้งการขาดสารอาหาร (ผลกระทบน้อยที่สุด)8.สาเหตุอื่นๆ อุบติเหตุต่างๆแนวทางการวินิจฉัย1.การซักประวัติ- โรคประจำตัว โรคทางพันธุกรรม
- การเจ็บป่วยในครอบครัว
- ประวัติฝากครรภ์
- ประวัติเกี่ยวกับหลังคลอด
- พัฒนาการที่ผ่านมา
- การเล่นตามวัย การช่วยเหลือตนเอง
- ปัญหาพฤติกรรม
- ประวัติอื่น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น